ผาสุก
(ปุ.) ความอิ่มใจ, ฯลฯ. ก สกัด. ส. ผาสุก.
ผาสุกา
(อิต.) สีข้าง, ซี่โครง. ปา รกฺขเณ, สุ, ปสฺส โผ, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
ผาสุก
น. ความสําราญ, ความสบาย. (ป.).
สฬายตน
(นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
อายตนะ
[-ยะตะนะ] น. เครื่องรู้และสิ่งที่รู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน เป็นเครื่องติดต่อกับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์. (ป., ส.).
(ปุ.) ความอิ่มใจ, ฯลฯ. ก สกัด. ส. ผาสุก.
ผาสุกา
(อิต.) สีข้าง, ซี่โครง. ปา รกฺขเณ, สุ, ปสฺส โผ, สกตฺเถ โก, อิตฺถิยํ อา.
ผาสุก
น. ความสําราญ, ความสบาย. (ป.).
สฬายตน
(นปุ.) เครื่องต่ออารมณ์ ๖ อย่าง, ที่เป็นต่อ ๖, ที่เป็นที่มาต่อ ๖, เครื่องติดต่อ ๖ อย่าง, อายตนะ ๖. ฉ+อายตน แปลง ฉ เป็น ส ฬฺ อาคม รูปฯ ๓๓๔.
อายตนะ
[-ยะตะนะ] น. เครื่องรู้และสิ่งที่รู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้, ในพระพุทธศาสนาหมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน เป็นเครื่องติดต่อกับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์. (ป., ส.).
0 ความคิดเห็น:
發佈留言