Nirut Jotilipikara

การโยงลิงค์ การโยงข้อมูลอื่น (1.)

4.30.2020

ข้อมูลตรวจทาน
วันพฤหัสบดี, 30 เมษายน

Lek Thi 206 Soi 8 ตำบล เนินมะปราง อำเภอเนินมะปราง พิษณุโลก 65190 ประเทศไทย
คำอธิบาย:นที

(อิต.) แม่น้ำ, นัทรี, วิ. อภิกขณํ นทตีติ นที, ส. นที.

นที

[นะ-] (แบบ) น. แม่นํ้า. (ป.).

ลิงก์โยงข้อมูล

นิธิ

(ไตรลิงค์) สมบัติอัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ อัน...พึงฝังไว้, ทรัพย์ที่รวบรวมไว้เป็นปึก แผ่น, ขุม, ขุมทรัพย์, บุญ. วิ. นิธียตีติ นิธิ. นิปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ เป็น ปุ. โดยมาก. นิธิ.

นิธิ

(แบบ) น. ขุมทรัพย์. (ป., ส.).

ลิงก์โยงข้อมูล

ผู้จัด: Phra Samana Jotiko

ข้อมูลตรวจทาน
วันพุธ, 29 เมษายน

Lek Thi 206 Soi 8 ตำบล เนินมะปราง อำเภอเนินมะปราง พิษณุโลก 65190 ประเทศไทย
คำอธิบาย:สิงฺคี

(อิต.) สิงคี ๑ ใน ๔ อย่าง, ทองเนื้อสุก, ทองคำ.

สิงคี

น. สัตว์มีเขา, วัว, ควาย; ชื่อปลาชนิดหนึ่ง; ทองคํา; ชื่อผักชนิดหนึ่ง. (ป.; ส. ศฺฤงฺคี).

ลิงก์โยงข้อมูล

นาย นายก

(วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น หัวหน้า, เป็นประธาน, ผู้นำ, ผู้นำไป. วิ. เนตีติ นายโก. นิ นี วา นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น ณ ปัจ.

นายก

[นา-ยก] น. ผู้นํา, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น นายกราชบัณฑิตยสถาน นายกสมาคม นายกสโมสร. (ป., ส.).

ลิงก์โยงข้อมูล

นหุต

(นปุ.) หมื่น (๑๐ พัน). นหฺ พนฺธเน, โต, อ อาคม เป็น นห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ.

หมื่น,หมื่น ๑

ว. จํานวนนับเท่ากับ ๑๐ พัน.

ลิงก์โยงข้อมูล

ผู้จัด: Phra Samana Jotiko

#PhasaThai #PhasaSiam #WebSite (Link).

4.28.2020

ข้อมูลตรวจทาน
วันอังคาร, 28 เมษายน

Lek Thi 206 Soi 8 ตำบล เนินมะปราง อำเภอเนินมะปราง พิษณุโลก 65190 ประเทศไทย
คำอธิบาย:เรื่อง: การรักษาความคิดได้ ด้วยใช้เทคโนโลยีการศึกษา
#ฉบับ Online ฉบับ มมร.91 ฉบับภาษาสยาม.
กถา สัตตักขัตตุปรมกถา

[๑๔๙๒] สกวาที บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด
๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ปรวาที ถูกแล้ว.
ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะได้ปลงชีวิตมารดา ได้ปลง
ชีวิตบิดา ได้ปลงชีวิตพระอรหันต์ ได้มีจิตประทุษร้าย ยังพระโลหิตของ
พระตถาคตให้ห้อ ได้ทำลายสงฆ์ หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๑๔๙๓] ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด ๗
ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้ไม่ควรเพื่อตรัสรู้
ธรรมในระหว่าง หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้ไม่ควรเพื่อตรัสรู้
ธรรมในระหว่าง หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะนั้น ได้ปลงชีวิตมารดา ได้
ปลงชีวิตบิดา ได้ปลงชีวิตพระอรหันต์ ได้มีจิตประทุษร้ายยังพระโลหิต
ของพระตถาคตให้ห้อ ได้ทำลายสงฆ์ หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๑๔๙๔] ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด ๗
ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. นิยมที่กำหนดบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ ไว้ด้วยความ
เกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง มีอยู่ หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ
โพชฌงค์ ที่กำหนดบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ ไว้ด้วยความเกิด ๗ ครั้ง
เป็นอย่างยิ่ง มีอยู่หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๑๔๙๕] ส. นิยมที่กำหนดบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ ไว้ด้วยความ
เกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง ไม่มี หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. หากว่า นิยมที่กำหนดบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ ไว้
ด้วยความเกิด ๗ ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง ไม่มี ก็ต้องไม่กล่าวว่า บุคคลผู้
สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด ๗ ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง
[๑๔๙๖] ส. สติปัฏฐาน ฯลฯ โพชฌงค์ ที่กำหนดบุคคลผู้สัตตัก-
ขัตตุปรมะ ไว้ด้วยความเกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง ไม่มี หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. หากว่า โพชฌงค์ที่กำหนดบุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ
ไว้ด้วยความเกิด ๗ ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง ไม่มี ก็ต้องไม่กล่าวว่าบุคคลผู้
สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง
[๑๔๙๗] ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด
๗ ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. ด้วยสกทาคามีนิยม หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. ด้วยอนาคามีนิยม หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. ด้วยอรหัตนิยม หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. ด้วยนิยมอะไร ?
ป. ด้วยโสตาปัตตินิยม.
[๑๔๙๘] ส. บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด
๗ ครั้ง เป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. ชนเหล่าหนึ่งเหล่าใด ก้าวลงสู่โสตปัตตินิยม ชน
เหล่านั้นทั้งหมด เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๑๔๙๙] ส. ไม่พึงกล่าวว่า บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยง
ต่อความเกิด ๗ ครั้งเป็นอย่างยิ่ง หรือ ?
ส. ถูกแล้ว.
ป. บุคคลนั้น เป็นสัตตักขัตตุปรมะ มิใช่หรือ ?
ส. ถูกแล้ว.
ป. หากว่า บุคคลนั้นเป็นสัตตักขัตตุปรมะ ด้วยเหตุนั้นนะ
ท่านจึงต้องกล่าวว่า บุคคลผู้สัตตักขัตตุปรมะ เป็นผู้เที่ยงต่อความเกิด ๗
ครั้งเป็นอย่างยิ่ง.
สัตตักขัตตุปรมกถา จบ

ข้อความตามแบบข้อมูล links@copy·th
#อธิบายกถา: ของครูสุชีพ ปุญญานุภาพ ฉบับประชาชน.

คำว่า เที่ยงแท้ มี 2 นัย คือเที่ยงแท้ในทางที่ถูก กับเที่ยงแท้ในทางที่ผิด นิกายอุตตราปถกะ มีความเห็นเพียงแง่เดียวว่า เที่ยงแท้ เพราะจะเกิดอีกไม่เกิน 7 ชาติ ซึ่งกินความหมายคลุมไปไม่ถึงผู้เที่ยงแท้ในทางที่ผิด จึงมีการซักให้นึกถึงแง่ที่ผิดด้วย.

ผู้จัด: Phra Samana Jotiko